บทความ

พระบาละคณปติ (Bala Ganapati)

รูปภาพ
พระบาละคณปติ (Bala Ganapati) "ผู้อันเป็นที่รักของเด็กๆ และทุกๆ คน" อวตารในภาคเด็ก ... นิยมบูชาในบ้านเรือน, โรงเรียน หรือสถานที่ที่มีเด็กๆ ที่พระพิฆเณศทรงมีเศียรเป็น ช้าง... เนื่องจากเมื่อเจริญวัยเข้า ถึงขั้นทำพิธีโสกันต์ (โกนจุก) แล้ว พระศิวะ พระบิดาได้มีบัญชาให้เชิญเท พเจ้าองค์ ต่างๆ มาร่วมพิธี โดยมีพระวิษณุเป็นผู้ทำพิธี โสกันต์ แต่เมื่อถึงเวลา พระวิษณุยังทรงบรรทมอยู่ ณ เกษียรสมุทร พระศิวะจึงมีบัญชา ให้ตามพระวิษณุมาทำพิธี เมื่อพระวิษณุถูกปลุกให้ตื่ นจากบรรทม ทรงพลั้งพระโอษฐ์ไปว่า "ไอ้ลูกหัวหาย ช่างกวนใจจริง" ด้วยวาจาสิทธิ์ของพระวิษณุน ี้เอง ได้ทำให้ศีรษะของพระพิฆเณศห ายไปทันที ท่ามกลางความตกใจของเหล่าทว ยเทพ พระศิวะซึ่งเป็นเทพองค์เดีย วที่สามารถทำให้พระพิฆเณศคื นชีพได้ จึงมีพระบัญชาให้พระวิษณุกร รมลงไปยังโลกมนุษย์ เพื่อหาหัวคนที่ถึงแก่ความต ายไปแล้ว โดยต้องเอาผุ้ที่นอนหันหัวไ ปทางทิศตะวันตก อันเป็นทิศของคนตาย มาต่อเป็นพระเศียรของพระพิฆ เณศ ปรากฎว่ายังไม่มีผู้ใดถึงที ่ตาย และพบเพียงแต่ช้างแม่ลูกอ่อ นคู่หนึ่งที่นอนหันหัวไปทาง ทิศตะวันตก จึงตัดหัวลูกช้างมาสวมให้พร

"ศิลปะ" ช่วยพัฒนาร่างกาย และการเจริญเติบโตของเด็กๆ

รูปภาพ
"ศิลปะ" ช่วยพัฒนาร่างกาย และการเจริญเติบโตของเด็กๆ โดยเฉพาะเด็กเล็กที่ร่างกาย กำลังมีพัฒนาการอย่างมาก การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสำห รับเด็กจะทำให้เด็กได้ฝึกกา รเคลื่อนไหวการพัฒนากล้ามเน ื้อ โดยเฉพาะการใช้มือ นิ้ว สายตา สมอง และร่างกายในส่วนอื่นๆ ให้ทำงานประสานกันได้ดียิ่ง ขึ้น kruchang@2017

กิจกรรมศิลปะบำบัดสำหรับผู้ต้องขังหญิง

รูปภาพ
กิจกรรม "ศิลปะบำบัด" ให้ผู้ต้องขังหญิง "โครงการพัฒนาทักษะชีวิตผู้ ต้องขังหญิงและเตรียมความพร ้อมก่อนปล่อย" ณ ทัณฑสถานหญิง อ.เมือง จ.เชียงใหม่  แนวความคิดของการเรียนการสอ น "ศิลปะบำบัด" ให้กับผู้ต้องขังหญิง เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนปล ่อย ผมได้มุ่งเน้นไปที่ตัวของผู ้ต้องขังเพื่อให้รู้จักตัวต นของตนเอง เห็นคุณค่าและให้เกียรติตัว เอง สอดแทรกปรัชญาแนวความคิดของ การใช้ชีวิต  เพื่อที่ผู้ต้องขังจะได้มีค วามมั่นใจในการออกไปเผชิญกั บโลกภายนอก สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมไ ด้ เป็นคนดี และไม่หวนกลับมากระทำความผิ ดซ้ำอีก เป็นกำลังใจให้กับผู้ต้องขั งหญิงทุกๆ ท่านนะครับ คนเราเกิดมาบนโลกใบนี้ไม่มี ใครหรอกที่ไม่เคยทำผิด ครูเองก็เคยทำผิด ... แต่เมื่อเราทำผิดแล้ว เรายอมรับผิดและพร้อมที่จะแ ก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ เรานั้นหรือไม่ และทำอย่างไรเราจะไม่กลับไป ทำความผิดเหล่านั้นอีก .... เป็นกำลังใจให้นะครับ  kruchang @  12 เมษายน 2559

Self - knowledge

รูปภาพ
"ความรู้" ระดับที่เป็นปัญญาของตนเอง สร้างด้วยประสบการณ์ เพราะประสบการณ์จะทำให้พวกเ ขามีความรู้แบบ "กระจ่างในหัวใจ" รู้ว่าอะไรผิด อะไรถูก จะแก้ไขได้อย่างไร และจะนำไปใช้ให้เกิดประโยชน ์อะไรได้บ้าง ความรู้ชนิดนี้เป็นความรู้ท ี่เกิดขึ้นในตัวเอง Self - knowledge ซึ่งใครๆ ก็ไม่รู้มากเท่ากับตัวผู้เร ียน ... "สุทัศน์ เอกา"

วิธีคิดในการสร้างผลงานศิลปะ

รูปภาพ
ได้มีโอกาสพบกับ "อ.ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี" ท่านได้กล่าวคำพูดดีๆ ไว้ให้ผมฟังดังนี้ว่า ... "วิธีคิดในการสร้างผลงานศิล ปะที่ยิ่งใหญ่ของศิลปิน ที่ทำงานศิลปะให้มีคุณค่านั ้น ... คือการทำงานเพื่อตอบสนองอาร มณ์ของผู้คนและรับใช้สังคม ... ไม่ควรทำงานเพื่อตอบสนองตัญ หาของตัวเอง ... ผลงานในชิ้นนั้นๆ จึงจะประสบความสำเร็จ อย่างแท้จริง" kruchang - 25.08.2012

"มังงะ" (ญี่ปุ่น: 漫画 manga )

รูปภาพ
"มังงะ" (ญี่ปุ่น: 漫画 manga ) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรี ยก "การ์ตูนช่อง" "มังงะ" พัฒนามาจาก "อุคิโยเอะ" และ "จิตรกรรมตะวันตก" และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู ่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงคร ามโลกครั้งที่สอง "มังงะ" ที่ได้รับความนิยมสูงมักถูก นำไปสร้างเป็น "อะนิเมะ" เนื้อหาของ "มังงะ" เหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่ อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทา งโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสน ิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น คำว่า "มังงะ" แปลตรงตัว ว่า “ภาพตามอารมณ์” ถูกใช้อย่างกว้างขวางเป็นคร ั้งแรกหลังจากจิตรกรอุคิโยเ อะชื่อ "โฮคุไซ" ตีพิมพ์หนังสือชื่อ "โฮคุไซมังงะ" ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ดีนักประวัติศาสตร ์บางกลุ่มเห็นว่า "มังงะ" อาจมีประวัติยาวนานกว่านั้น  โดยมีหลักฐานคือ "ภาพจิกะ" (แปลตรงตัวว่า “ภาพตลก”) ซึ่งเป็นที่นิยมในศตวรรษที่  12 มีลักษณะหลายประการคล้ายคลึ งกับ "มังงะ" ในปัจจุบัน อาทิ การเน้นเนื้อเรื่อง และการใช้เส้นที่เรียบง่ายแ ต่สละสลวย เป็นต้น "มังงะ" พัฒนา

การร่างภาพนั้น เป็นหัวใจของการวาดภาพ

รูปภาพ
"การร่างภาพ" เป็น "หัวใจสำคัญของการวาดภาพ" ถ้าร่างภาพไม่ดี หรือยังไม่ถูกต้อง การลงแสงเงา หรือลงสีที่สวยงามก็ไม่ได้ช ่วยให้ภาพนั้นดูดี หรือสวยงามขึ้นมาได้ - kruchang@2016